|
ตอนที่ 25 |
ส่งข้อมูลแสดงผลออกทาหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทาง Serial Monitior |

|
|
การส่งข้อมูลจาก Arduino ไปแสดงผลทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ ทาง Serial Monitor
จะใช้แสดงผลค่าต่างๆได้ เช่นแสดงค่า ตัวแปรต่างๆ โดยมากแล้วโครงงานที่มีการแสดง
ผลออกมา จะทดสอบโดยใช้ Serial Monitor ซึ่งจะเห็นค่าที่ได้ง่าย เช่น โครงงานวัดแรงดัน
วัดอุณหภูมิ ..จะแสดงผลเป็นตัว อักษร และตัวเลข จะได้ เขียนไว้ในส่วนของโครงงาน ต่อๆ
|
|

|
หน้าต่างของ Serial Monitor |
|
ในการสื่อสาร จะต้องกำหนดความเร้วทั้ง 2 ฝั่ง ให้ตรงกันจึงจะติดต่อกันได้ความเร็ว
ในการส่งข้อมูล นี้ เรียกว่า Boaudrate
การกำหนด Boaudrate มีให้เลือกมากมายทั้งนี้ขั้น
อยู่กับอุปกรณ์นั้นๆจะรองรับได้เท่าไร 300 , 1200 , 2400 , 4800 , 9600 , 14400 , 38400
, 57600 , 115200 , 230400 , 460800 , 921600
|
|

|
ต่อ USB กับบอร์ด และ เขียน Code ดังกล่าว ทดอสอบ และ Upload
|
|
void setup()
{
Serial.begin(9600);
}
void loop()
{
Serial.print("ทดสอบ--");
delay(2000);
} |
|
|
|
|

|
เลือกส่งข้อมูลมาแสดงผลที่ Serial Monitor ( มุมบนขวามือ)
|
|

|
ข้อมูลที่ส่งมาแสดงผล สังเกตว่า ข้อมูลจะแสดงทุกๆ 2 วินาที (delay(2000); และ แสดงแบบต่อเนื่องไปเรื่อยๆ
มุมล่างแสดงความเร็วในการติดต่อ เลือดความเร็ฌวได้ แต่ต้องระบุให้ตรงกับ code และ
ขึ้นอยู่กับชนิดอุปกรณ์ว่ารับความเร็วเท่าไร |
|
 |
เปลี่ยนคำสั่งจาก Serial.print เป็น Serial.println
จะเป็นว่าข้อมุลที่ส่งมาจะมีการขึ้นบรรทัดใหม่ทุกครั้ง |
|
 |
ทดสอบการส่งค่าตัวแปรแสดงผลทาง Serial Monitor |
|
 |
|
 |
การสื่อสารแบบอนุกรม ในตัวบอร์ด Arduino จะมีมาให้อีกคือ
ขา RX (รับข้อมูล) และ TX (ส่งข้อมูล) ซึ่งรายละเอียดจะได้กล่าวถึง
ในโครงงานที่ต้องการการรับส่งข้อมูลแบบนี้ |
|
 |
|
|
|
|
ลองนำความรู้จากตอนที่ 22 ไฟวิ่งอย่าง่าย
มาใช้สวิตช์กด แบบนี้ั
จะได้มากถึง 4 รูปแบบ ลองทำดูครับ วงจรนี้ จะใช้ในบทความตอนต่อ
ไปมาดูว่า สวิตช์ 2 ตัว LED 4 จะทำโครงงานอะไรได้บ้าง |
|
|
การเขียนโปแกรม ส่วนไหนไม่เข้าใจ สามารถสอบถามมาได้ครับ ( ไม่รับโทรสอบถามครับ)
ส่วนไหนอธิบายได้ก็จะอธิบายให้ ส่วนไหนผมยังไม่ได้ศึกษา ก็คงตอบไม่ได้.. |
|
เขียนเมื่อ 22 ธค 64 |
|
พบกันใหม่ในตอนต่อไปครับ |
|
|