หุ่นยนต์ทำงานเองได้โดยไม่ต้องเขียนโปแกรม แต่ทำงานอาศัยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ที่เรียกว่า หุ่นยนต์ BEAM)
ทำความรู้จักกับ BEAM กันครับ (ข้อมูล จาก จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี)
บีม (อังกฤษ: BEAM) คือหุ่นยนต์อัตโนมัติรูปแบบหนึ่งที่ไม่ได้อาศัย ไมโครคอนโทรลเลอร์
ในการควบคุมและ ประมวลผลสัญญาณเหมือนหุ่นยนต์ทั่วไป แต่อาศัยคุณสมบัติของวงจร
ของวงจรแอนะล็อกอย่างง่าย (อย่างเช่น
อุปกรณ์เปรียบเทียบ (Comparator)
และ ออสซิลเลเตอร์ (Oscillator) )ในการสร้างสัญญาณสั่งให้ตัวขับ (actuator) ทำงานได้
กล่าวคือ เป็นการใช
วงจรอิเล็กโทรนิกแบบ
แอนะล็อกเลียนแบบการทำงานของ
ระบบประสาทในสิ่งมีชีวิตในการสร้างสัญญาณไฟฟ้าเพื่อ
ที่จะควบคุมอวัยวะต่างๆของตัวหุ่นยนต์
(ในที่นี้คือ มอเตอร์ และตัวขับไฮดรอลิก)
โดยคำว่า B.E.A.M ย่อมาจาก B = Biology (ชีววิทยา), E = Electronics (อิเล็กโทรนิก),
A = Aesthetics (สุนทรียศาสตร์) และ M =Mechanics (กลศาสตร์)
ผู้ริเริมแนวคิดหุ่นยนต์แบบบีมคนแรกคือ มาร์ค ทิลเดน (Mark Tilden) นักวิทยาศาสตร์
ประจำห้องทดลอง แห่งชาติ ลอส อลามอส (Los Alamos National Laboratory)
โดยเริ่มเผยแพร่ในผลงานชื่อ เครื่องจักรที่มีชีวิต (Living Machines) ร่วมกับ Brosl Hasslacher [1]
ชนิดของหุ่นยนต์บีม เช่น จะมีพฤติกรรมตอบสนองต่อเสียง , ต่อเสียง , ต่อความร้อน , ต่อคลื่น
สรุปว่า หุ่นยนต์บีม จะเป็นหุ่นยนต์ที่ออกแบบจากวงจรไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ ที่ไม่ต้องควบคุม
ด้วยชุดคำสั่งจากโปกรมแกรม ครับ
สนใจที่จะเรียนรู้วงจรการทำงาน ติดตามที่หน้าเพจนี้ หรือ ในบทความนะครับ
|
 |
 |
 |
โครงหุ่ยนต์ V1
ใช้สำหรับ การทดลองต่อวงจรอิเล็กทรอนิกสฺบน
บอร์ดทดลอง เพื่อให้หุ่ยนต์ทำงานได้ตามที่ต้องการ
|
|
|